วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Code Book - รหัสทางเลือก

รหัสทางเลือก คือ ตัวเลือกในตัวแปรค่ะ และรหัสทางเลือกจะอยุ่ในข้อมูลเชิงคุณภาพเท่านั้นค่ะ

อธิบายอาจะงง???   งั้นเราไปดูตัวอย่างกันนะค่ะ

ตัวอย่างที่ 1 เพียงคำตอบเดียว

           เพศ               ชาย        หญิง

           ตัวอย่างที่ 1มีตัวแปรเดียวคือ เพศ  เพราะเราตอบได้เพียงคำตอบเดียว  และมี 2 รหัสทางเลือก 

คือ ชายและ หญิง

นั้นก็คือ รหัสทางเลือกที่ 1 = ชาย
            
             รหัสทางเลือกที่ 2 = หญิง

ตัวอย่างที่ 2 ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
           
      ยี่ห้อน้ำอัดลมที่ชอบ (ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ )
          
     โค้ก          เป๊ปซี่          แฟนต้า          มิลินด้า          เอส          สไปรส์
       
      ตัวอย่งที่ 2 นี้มี 6 ตัวแปร คือ โค้ก, เป๊ปซี่, แฟนต้า,มิลินด้า, เอส, สไปรส์ 

และมี 2รหัสทางเลือก คือ ชอบ และไม่ชอบ   นั้นก็คือ

โค้ก มี 2 รหัสทางเลือกทาง ได้แก่ รหัสทางเลือกที 0 = ไม่ชอบ  ,  รหัสทางเลือกที่ 1 = ชอบ  

เป๊ปซี่  มี 2 รหัสทางเลือกทาง ได้แก่ รหัสทางเลือกที 0 = ไม่ชอบ  ,  รหัสทางเลือกที่ 1 = ชอบ 

แน่นนอนว่า อีก 4 ตัวแปร ก็มีรหัสทางเลือก เช่นเดียวกัน

       
พูดง่ายๆ รหัสทางเลือก คือ ตัวเลขที่เรากำหนดใน Values Lables นั้นเองค่ะ ซึ่งอยุ่ในหน้าต่าง Variable View





                                       

อ่านค่า Sig ของ T Test

ดีจ้า :)
วันนี้จะมาต่อจากคราวที่แล้วที่ค้างไว้ที่การหาค่า Sig. ของ Independent-Samples T Ttest เรียกสั้นๆว่า
 "T Test" ค่ะ
โดยค่า Sig. นั้นจะอยู่ในหน้าต่าง Out Put ค่ะ  หน้าตาของ  Independent-Samples T Ttest ใน Out Put ค่ะ


**มาดูที่ Sig ตัวแรกกันก่อนะค่ะ 
Sig ตัวที่ 1 ใช้ดูว่าเราจะเลือก Sig ที่ 2 ตัวไหนค่ะ 
ถ้า Sig ตัวที่ 1 มีระดับนัยสำคัญ มากกว่า 0.05 ให้นำ ค่าบันทัดแรก ( 0.698 ) ของค่า Sig ตัวที่ 2 มาตอบ 
แต่ถ้า Sig ตัวที่ 1 มีระดับนัยสำคัญ น้อยกว่า 0.05 ให้นำ ค่าบันทัดที่ 2 (0.692) ของค่า Sig ตัวที่ 2 มาตอบ









วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

spss หาค่าสมมติฐาน ด้วย Independent-Samples T Test

วิธิีทำการวิธีข้อมูลจากสมมติฐาน ด้วยคำสั่ง Independent-Samples T Test
ขออธิบายในเข้าใจง่ายๆๆๆๆๆนะค่ะ
 สมมติฐานที่ใช้คำสั่ง Independent-Samples T Test จะต้องมีตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ( ข้อมูลเป็นแบบตัวเลือกที่เลือกได้ 1 คำตอบ )ที่มีตัวแปรอิสระ 2 รหัสทางเลือกเท่านั้น นะจ๊ะ และตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ  ถึงจะใช้ Independent-Samples T Test ได้ค่ะ  

มาเริ่มขั้นตอนการทำกันดีกว่าค่ะ
 ขั้นแรกต้องคีร์ข้อมูลที่ data view ให้เสร็จก่อน

ต่อไปใช้คำสั่ง Analyze เลือก Compare Means จากนั้นเลือก Independent-Samples T Test


จะได้หน้าต่างนี้นะค่ะ


จากนั้นดูสมมติฐานของตัวเองนะค่ะว่าะอะไรคือตัวแปรอิสระ


จะได้หน้าต่างเล็กขึ้นมาหนึ่งอัน



 ในที่นี้ใน Values ให้ 1 เป็นเพศชาย และ 2 เป็นเพศหญิง ค่ะ



จากนั้นให้คลิกที่ตัวแปรตามใส่ในช่อง Test Variable  (เเน่นอนค่ะว่าข้อมูลนี้ต้องเป็นข้อมูลเชิงปริมาณเท่านั้นนะค่ะทุกๆๆๆคน!!!)


จากนั้นคลิก OK เลยค่ะ
ผลวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จะไปปรากฎที่หน้าต่าง Out Put ค่ะ


หน้าตาของมันจะยาวววววว มากกกกกกกค่ะ

คราวหน้าค่อยมาต่อวิธีการดูค่า Sig. กันนะค่ :)

วันนี้จะมาหา ค่าเฉลี่ย(MEAN) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน(SD)

ขั้นแรกต้องคีร์ข้อมูลที่ data view ให้เสร็จก่อน

จากนั้นใช้คำสั่ง Analyze เลือกคำสั่ง Descriptive Statistics แล้วเลือก Descriptive

เมื่อคลิกที่ Descriptive แล้วจะได้หน้าต่างตามรูปด้านล่างนะค่ะ

เราจะเลือกตัวที่เราต้องการหาค่า ค่าเฉลี่ย(MEAN) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน(SD)
ในที่นี้ขอเลือก รายได้กับ อายุ ค่ะ





ค่าที่ได้จะไปปรากฎใน Out Put นะค่ะ (มันเป็นหน้าต่างอีกอันหนึงที่เเยกออกมาค่ะ)
หน้าตาเป็นแบบนี้ค่ะ

เสร็จแล้วค่ะ หาค่า Mean และ ค่า SD